วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่14
ทบทวนกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
1. กิจกรรมเสริมประสบการณ์(วงกลม)
2. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
3. กิจกรรมศิลปะ
4. กิจกรรมเกมการศึกษา
5. กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม
6. กิจกรรมกลางแจ้ง
* กลุ่มที่1
เพื่อนกลุ่มหน่วยครอบครัวของฉัน
* กลุ่มที่2
เพื่อนกลุ่มหน่วยผลไม้
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่13
เสนอความคิดเห็นการจัดกิจกรรมแสดงความสามารถของสาขาการศึกษาปฐมวัย
- นิทานเวที
- นิทรรศการสื่อ
- เล่นดนตรี
- ร้องเพลง
- เล่านิทาน
- เล่นเกม
- รำ
- งานศิลปะ
- เต้น
กิจกรรม
1. การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัวเด็ก
2. ประสบการณ์ คือ ต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3. การนับหรือการเรียง ต้องเรียงจากซ้ายไปขวา เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4. การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5. การแยก เป็นพื้นฐานของการลบ
6. การรวม เป็นพื้นฐานของการบวก
7. ภาษา/คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่พัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8. ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำ แสดงว่า จะเป็นแค่เพียงการรับรู้เท่านั้น
9. เครื่องมือที่การวัดที่เป็นทางการ เช่น ไม้บรรทัด
10.เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ เช่น คืบ ฝ่ามือ
- สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและความยาว
- สาระที่ 3 เลขาคณิต มาตรฐาน รู้จักตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปทรง
- สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน การนำเสนอข้อมูล / การรวบรวมข้อมูล
วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่12
map หน่วยน้ำ
|
อาจารย์แนะนำสิ่งที่ควรแก้ไขและเพิ่มเติมอาจารย์ให้เขียนแผนการสอนในแต่ละวันที่แต่ละคนได้รับมอบหมายในกลุ่ม
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่11
สิ่งที่ต้องรู้
ศาสตร์ที่นำไปประยุกย์ใช้กับเด็ก
การจัดประสบการณืจะต้องคำนึงถึงอายุของเด็ก
การสอนคณิตศาสตร์หรือการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมให้แก่เด็กปฐมวัยนั้น
ควรมีลักษณะดังนี้
1. จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. จัดประสบการณ์ที่ทำให้เด็กได้ค้นพบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีการวางแผนอย่างดีและมีจุดมุ่งหมาย
4. คำนึกถึงการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5. สังเกตพฤติกรรมในการเรียนรู้ของเด็ก
6. ใช้ประสบการณ์เดิมของเด็ก ในการสอนประสบการณ์ใหม่ และสถานการณ์ใหม่ๆ
7. รู้จักใช้สถานการณ์ในขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตประจำวัน
9. ให้เด็กมีส่วนร่วมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข
10. ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
11. แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอ
12. ควรสอนความคิดรวบยอดในและครั้ง
13. แก้ไขปัญหาการการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่นจากง่ายไปหายาก
14. ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลข หรือเครื่องหมาย
15. ต้องมีการเตรียมความพร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์
กิจกรรม
ทำ map เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่7
กิจกรรม
ส่งงานวงกลม
ตัวบ่งชี้(สสวท)
1.จำนวน และการดำเนินการ
2.การวัด การใช้เครื่องมือ หาค่าแระปริมาณ
3.เรขาคณิต(ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะ)
4.พีชคณิต ความสัมพันธ์
5.การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น
6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน
- เกณฑ์ในการวัด = การวัดผล
- เกณฑ์การประเมิน = การประเมิน
- คุณภาพ = การเป็นที่ยอมรับ
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 6
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)